วันจันทร์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 7 (เรื่องที่ 10)

แพคเกจซอฟต์แวร์ OPAC
(Optical Properties of Aerosols and Clouds) (Optical Properties ของละอองลอยและเมฆ)


OPAC is a software package which contains the optical properties in the solar and terrestrial spectral range of atmospheric particles, ie water droplets, aerosol and ice crystals. OPAC คือโปรแกรมซอฟต์แวร์ที่มีคุณสมบัติทางแสงและภาคพื้นดินในช่วงสเปกตรัมแสงอาทิตย์ของอนุภาคอากาศ, หยดน้ำเช่นผลึกน้ำแข็งและละออง In all 3 groups data of important or typical examples are available in OPAC. ในทั้ง 3 กลุ่มหรือข้อมูลทั่วไปที่สำคัญมีตัวอย่างใน OPAC The aerosol related data are also used in the Global Aerosol Data Set (GADS) . ข้อมูลที่เกี่ยวข้องละอองยังใช้ใน สเปรย์ Global Data Set (GADS)

In order to make OPAC available on most of the common computer systems, the data are provided in ASCII files and the enclosed software as a FORTRAN program. เพื่อให้ OPAC อยู่บนที่สุดของระบบคอมพิวเตอร์ทั่วไปข้อมูลที่มีไว้ในไฟล์ ASCII และซอฟต์แวร์แนบเป็นโปรแกรม FORTRAN The data consist of optical properties of clouds and aerosol components, all calculated for 1 particle/cm^3. ข้อมูลที่ประกอบด้วยคุณสมบัติทางแสงของเมฆและส่วนประกอบละอองคำนวณ 1 อนุภาค / cm ^ 3 The FORTRAN program allows to read these files, to mix aerosol components to aerosol types consisting of several components, and to calculate additional optical properties which are not stored in the ASCII files. โปรแกรม FORTRAN สามารถอ่านไฟล์เหล่านี้ไปผสมส่วนประกอบละอองละอองชนิดประกอบด้วยหลายส่วนและ การคำนวณทางแสงอื่นที่ไม่ได้เก็บไว้ในไฟล์ ASCII

Aerosol in the atmosphere is assumed to be a mixture of different components. ละอองในบรรยากาศจะถือว่าองค์ประกอบผสมที่แตกต่างกัน This mixture can be achieved with data given by the user or by the use of typical mixtures, called aerosol types, which are presented in OPAC. ส่วนผสมนี้สามารถทำได้กับข้อมูลที่กำหนดโดยผู้ใช้หรือโดยการผสมใช้งานทั่วไปของเรียกว่าประเภทละอองซึ่งจะแสดงใน OPAC Multiplying the stored data with realistic number densities, either with data given by the user or available in OPAC, gives absolute optical properties. ข้อมูลที่เก็บไว้คูณด้วยความหนาแน่นจำนวนจริงทั้งกับข้อมูลที่กำหนดโดยผู้ใช้หรือใช้ได้ใน OPAC, ให้คุณสมบัติทางแสงสมบูรณ์ Moreover, the height distribution of the particles can be varied, likewise with data given by the user or with prefixed data. นอกจากนี้การกระจายความสูงของอนุภาคสามารถหลากหลายเช่นเดียวกันกับข้อมูลที่กำหนดโดยผู้ใช้หรือมีข้อมูลนำหน้า For those aerosol components, which are assumed to change their size with relative humidity, values for humidity classes are given. สำหรับองค์ประกอบละอองเหล่านั้นซึ่งถือว่าเปลี่ยนขนาดกับความชื้นค่าความชื้นในชั้นเรียนจะได้รับ The data are given for up to 61 wavelengths between 0.3 µm and 40 µm and for up to 8 relative humidities. ข้อมูลจะได้รับถึง 61 ความยาวคลื่นระหว่าง 0.3 ไมครอนและ 40 ไมครอนและไม่เกิน 8 ความแห้งที่มีความชื้น

Conception and design of OPAC are due to GA d´Almeida. Nevertheless, the aerosol data used for calculating the optical properties have been completely revised compared to the original version in d´Almeida et al. ความคิดและการออกแบบ OPAC อยู่เนื่องจาก GA d' Almeida . แต่ข้อมูลละอองใช้สำหรับการคำนวณทางแสงได้รับการแก้ไขอย่างสมบูรณ์เมื่อ เทียบกับรุ่นเดิมใน d' Almeida et al (1991). (1991) This revision has been performed mainly by P. Koepke in collaboration with Ingrid Schult at MPI Hamburg. การปรับปรุงนี้ได้รับการดำเนินการส่วนใหญ่โดยพี Koepke ร่วมกับ Ingrid Schult ที่ MPI Hamburg The cloud properties in OPAC are compiled by M. Hess. คุณสมบัติของเมฆใน OPAC ถูกรวบรวมโดย M. Hess


Publication: Publication :

OPAC is described in: OPAC ระบุใน :

M. Hess, P. Koepke, and I. Schult (1998): Optical Properties of Aerosols and clouds: The software package OPAC , Bull. M. Hess, P. Koepke และ Schult I. (1998) : Optical คุณสมบัติของละอองลอยและเมฆ : แพคเกจซอฟต์แวร์ OPAC , Bull Am. Am Met. พบ Soc., 79, 831-844. Soc . , 79, 831-844

Availability: Availability :

วันจันทร์ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 5 (เรื่องที่ 11)

ตัวอย่างบริการเสริมของ OPAC ด้วยการใหับริการการเขียนรายการอ้างอิงผ่านระบบ OPAC ของห้องสมุด Longwood University / Greenwood Library

20100517-cite

เมื่อคลิกที่ Cite this ระบบจะแสดงรายการอ้างอิงจากหลายๆ ค่าย ทั้งของ APA, Chicago, Harvard, MLA, และ Turabain ของรายการหนังสือที่สืบค้นให้

20100517-cite21

Share/Save/Bookmark

OPAC กับการส่งข้อความผ่านมือถือ
May 17th, 2010 by supaporn 138 views

ที่่ห้องสมุด Plymouth State University เสริมการบริการสืบค้นผ่าน OPAC ของห้องสมุดด้วยการส่งข้อความเข้าโทรศัพท์มือถือ นับเป็นบริการเสริมที่น่าติดตามทีเดียว

201000517-cellphone5

เมื่อคลิก Text this to your cell phone จะมีช่องให้กรอกหมายเลขโทรศัพท์มือถือ ที่ต้องการส่งข้อความที่สืบค้นได้เข้าโทรศัพท์มือถือ

20100517-text-in-cell-phone2

Share/Save/Bookmark

Libraries using LibraryThing for Libraries
May 17th, 2010 by supaporn 129 views

LTFL หรือ Libraries using LibraryThing for Libraries เป็นกลุ่มห้องสมุดที่ใช้ LibraryThing เพิ่มเข้ามาในระบบ OPAC ทำให้ระบบ OPAC มีลูกเล่นมากขึ้น ตอนนี้มี 3 ลูกเล่น แบ่งเป็น CE RE SB
CE (Catalog Enhancements) มีการเพิ่ม Tag ที่ผู้ใช้ add เข้าไปและเชื่อมโยงไปถึงหนังสือที่มีเนื้อหาคล้ายๆ กัน

RE (Reviews Enhancements) เพิ่มการวิจารณ์หนังสือแต่ละเล่มเข้าไป และมีการให้คะแนน หรือให้จำนวนดาวของหนังสือเข้าไปด้วย

SB (Shelf Browse Enhancement) มีการเรียกดูรายการหนังสือแบบ Virtual Shelf น่าดึงดูดใจทีเดียว

เข้าไปศึกษาดูตัวอย่างดังกล่าวได้ที่ http://www.librarything.com/wiki/index.php/LTFL:Libraries_using_LibraryThing_for_Libraries นะคะ จะเห็นว่า Library 2.0 เข้าไปอยู่ในส่วนของ Cataloging ของห้องสมุดของคุณได้ชัดเจนทีเดียวค่ะ

Share/Save/Bookmark

Taxonomy VS. Folksonomy
Nov 7th, 2009 by supaporn 321 views

Professional Indexing VS. Personal Indexing และ Subject Cataloging VS. Social Tagging และ Taxonomy VS. Folksonomy และ Expert Metadata VS. User-Generated Metadata

กลุ่มคำทั้งสี่ชุดนี้ ถ้าถูกนำมาใช้ร่วมกันเพื่อประโยชน์ในการสืบค้นสารสนเทศของห้องสมุด น่าสนใจมากทีเดียว ปัจจุบันมีห้องสมุดหลายแห่งเริ่มนำแนวความคิดนี้มาใช้เพื่อเพิ่มศักยภาพของ การสืบค้นทาง OPAC ของห้องสมุด สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่

http://www.stks.or.th/web

Share/Save/Bookmark

OPAC ของท่านสนับสนุนการทำบรรณานุกรมหรือไม่
Sep 4th, 2009 by Courseware2u 462 views

โดยปกติการทำอ้างอิง บรรณานุกรมมักจะใช้โปรแกรม EndNote มาช่วยบริหารจัดการ แต่สำหรับท่านที่สนใจ OSS โปรแกรม Firefox ผสานพลังด้วย Zotero เป็นตัวนำที่น่าสนใจและโดดเด่นมาก ไม่เพราะสาเหตุ “ฟรี” และใช้ได้สะดวกกว่าเท่านั้น แต่เพราะโปรแกรม Zotero สามารถดึงข้อมูลบรรณานุกรมของหนังสือ เอกสารรวมสื่อต่างๆ จาก OPAC มาเก็บเป็นรายการบรรณุกรมพร้อมนำไปอ้างอิงในเอกสารได้ทันที อีกทั้งรองรับการทำงานทั้งกับ Microsoft Word และ OpenOffice.org Writer

แต่ปัญหาของ Zotero ก็คือ จะดึงบรรณานุกรมหนังสือได้ เมื่อ OPAC นั้นรองรับเทคโนโลยี OpenURL ซึ่งตรวจสอบได้ง่ายๆ ว่า OPAC ของท่านรองรับ OpenURL หรือไม่ได้ โดยสืบค้นหนังสือ เอกสาร สื่อผ่าน OPAC ของหน่วยงานด้วย Firefox ที่ติดตั้ง Zotero (รายละเอียดการติดตั้ง) แล้วสังเกตใน Address bar หากปรากฏไอคอนเล็กด้านท้ายของ Address bar เป็นรูปหนังสือสีฟ้า หรือกระดาษสีขาว หรือแฟ้มสีเหลือง และเมื่อคลิกไปแล้ว มีรายการบรรณานุกรมหนังสือเก็บในระบบ Zotero แสดงว่า OPAC ของท่าน สนับสนุน OpenURL

openurl-zotero

จากการตรวจสอบเบื้องต้น พบว่ามีสถาบันการศึกษาหลายแห่งที่เปิดบริการ OPAC แต่ไม่รองรับ OpenURL จะเป็นแหล่งใดบ้าง ก็ลองตรวจสอบกันดูนะครับ

Share/Save/Bookmark

หากจะหันมาใช้ Koha ต้องเตรียมตัวอะไรบ้าง? รองรับการทำงานของห้องสมุดใหญ่ๆ ได้หรือไม่
Feb 15th, 2009 by supaporn 1,062 views

การใช้โปรแกรมอะไรก็ตามที่ต้องทำงานร่วมกันในหลายๆ หน้าที่ และเป็นที่เก็บข้อมูลมากๆ คงหนีไม่พ้นเรื่องของการเตรียมเรื่องเซิร์ฟเวอร์ หน่วยความจำที่เพียงพอ ซึ่งในเรื่องของฮาร์ดแวร์ไม่น่าจะมีอะไรที่ต้องกังวลมากนัก แต่สิ่งที่ต้องตระหนักก็คือ Read the rest of this entry »

Share/Save/Bookmark

ความมั่นใจในการใช้ Koha
Feb 15th, 2009 by supaporn 826 views

เนื่องจาก Koha เป็น Open Source แม้นว่าจะไม่มีบริษัทใดๆ ที่ประกาศตัวว่า พัฒนาต่อยอด Koha เนื่องจากเป็นซอฟต์แวร์เฉพาะ แต่ด้วยความที่เป็น Open Source ทำให้โปรแกรมเมอร์ต่างๆ ที่เป็นมืออาชีพ (ขอเน้นว่ามืออาชีพ และเปิดใจรับ OSS เนื่องจากประเทศไทยยังมีโปรแกรมเมอร์จำนวนมากเช่นกันที่กลัว OSS หรือมีอคติกับ OSS) สามารถแกะโปรแกรมและปรับแต่งได้อย่างแน่นอน ดังนั้น บริษัทพัฒนา Web application ต่างๆ ในประเทศไทย รวมทั้งโปรแกรมเมอร์ Freelance ต่างสามารถรับช่วงพัฒนาต่อยอด Koha ได้อย่างแน่นอน โดยเฉพาะด้านเทคนิค

Read the rest of this entry »

Share/Save/Bookmark

ถ้าจะนำ Koha มาใช้ จะต้องเตรียมงบประมาณสักแค่ไหน และเวลาในการเปลี่ยนผ่านนานเท่าใด?
Feb 15th, 2009 by supaporn 783 views

งบประมาณในการพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ Koha อาจจะต้องแยกเป็นหลายกรณี ดังนี้

1. ระบบเครือข่ายและรักษาความปลอดภัย กรณีที่หน่วยงานมีอยู่แล้วก็คงใช้ระบบเดิมได้ทันที แต่หากหน่วยงานใหม่ก็อาจจะเลือกใช้พัฒนาเอง หรือใช้บริการจาก ISP ที่ให้บริการจะเหมาะสมกว่า ซึ่งมีให้เลือกหลากหลายรูปแบบ หลากหลายราคา
2. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ กรณีนี้คงจะบอกได้ว่า “ศูนย์บาท” เนื่องจาก สามารถดาวน์โหลดมาใช้งานได้ทันที ยิ่งหน่วยงานใดเป็น International ก็สามารถติดตั้งและใช้งานได้ทันที แต่ถ้าจะใช้งานในระบบภาษาไทย จำเป็นต้องเตรียมงบประมาณในส่วนการปรับปรุงภาษาไทย อาจติดต่อกับหน่วยงานที่เคยพัฒนาภาษาไทยให้เปิดเผยส่วนนี้ เป็น Open Source ให้ดาวน์โหลดได้ฟรีด้วย หากทำได้จะเป็น “ศูนย์บาท” ได้ 100% แน่นอน อย่างไรก็ตามหน่วยงานที่สนใจนำมาใช้ หากไม่มีโปรแกรมเมอร์ที่มีทักษะพอ อาจจะต้องจัดงบประมาณการติดตั้งระบบด้วยซึ่งไม่เกิน 50,000 บาท

Read the rest of this entry »

Share/Save/Bookmark

หากจะนำ Koha มาใช้งาน ห้องสมุดควรเตรียมการอะไรบ้าง เป็นขั้นต่ำ
Feb 15th, 2009 by supaporn 855 views

การเตรียมการประการแรกและสำคัญคือ ความเชื่อมั่นในระบบ Open Source เพราะหากไม่มีความเชื่อมั่น ก็คงทำให้เกิดผลได้ยาก เมื่อมีใจให้แล้วก็สามารถเริ่มงานได้เลย โดยพิจารณาจากความพร้อมทางด้านระบบเครือข่าย ระบบรักษาความปลอดภัย ความรู้ ความสามารถของโปรแกรมเมอร์ของหน่วยงาน

Share/Save/Bookmark

Koha มีความสมบูรณ์มากแค่ไหน เมื่อเทียบกับระบบแพงๆ
Feb 15th, 2009 by supaporn 728 views

ถ้าจะพูดถึงความสมบูรณ์ คงต้องบอกว่า ขึ้นอยู่กับบรรณารักษ์ที่เป็นผู้ดูแลมากกว่า ที่จะต้องการให้โปรแกรมการทำงานของห้องสมุดมีความครอบคลุมทุกประเด็นแค่ไหน เพราะการพัฒนาโปรแกรม Koha ต้องอาศัยบรรณารักษ์ที่มีความชำนาญมากในเรื่องฟังก์ชั่นการทำงานของห้องสมุด ซึ่งสามารถร่วมวิจัยและพัฒนาไปกับทีมพัฒนาได้ ผิดกับโปรแกรมที่ซื้อมาด้วยราคาแพง เมื่อต้องการเปลี่ยนแปลงหรือให้พัฒนาอะไร ต้องเสียค่าใช้จ่าย และบางครั้งก็ได้แบบไม่ตรงใจนัก

Read the rest of this entry »

Share/Save/Bookmark

เกณฑ์การประเมิน ILS ที่เป็น OSS
Dec 21st, 2008 by supaporn 638 views

การจะนำระบบห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการมาใช้ โดยเฉพาะเป็นซอฟต์แวร์รหัสเืปิดด้วยแล้ว ควรจะพิจารณาในเรื่องต่อไปนี้

1. เป็นโปรแกรมที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

2. มีโมดูลการทำงานอย่างน้อย cataloging, circulation, OPAC, acquisition, serial contrl และบูรณาการกันได้

3. ใช้ MARC

4. Source code หรือ document สามารถดาวน์โหลดได้ภายใต้ GNU General Public License

5. Adaptability and user friendly system

6. Scalability

Share/Save/Bookmark

คู่มือ Koha
Aug 28th, 2008 by supaporn 1,039 views

หลาย ๆ ท่านคงจะคุ้นเคยกับการสืบค้นข้อมูลออนไลน์ของห้องสมุด ที่เรียกกันว่า OPAC ตอนนี้ STKS หรือศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ศวท.) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้นำระบบห้องสมุดอัตโนมัติ Koha เข้าใช้ในห้องสมุด ศวท. เองแล้ว โดยเสียค่าใช้จ่ายน้อยมาก เมื่อเทียบกับระบบห้องสมุดอัตโนมัติเชิงพาณิชย์ Read the rest of this entry »

Share/Save/Bookmark

ห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ (ตอนที่ 4)
Dec 26th, 2007 by supaporn 529 views

ระบบงานควบคุมสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Serial control module) ครอบคลุมตั้งแต่การลงทะเบียนวารสารไปจนถึงการเย็บเล่ม การลงทะเบียนวารสารจะใช้กราฟิกแสดงบัตรทะเบียนวารสาร (Kardex) ระบบควบคุมทะเบียนวารสารจะถูกเชื่อมโยงเข้าระบบงานหลักอื่น ๆ อีกด้วย

ระบบงานสืบค้นออนไลน์ (Online Public Access Cataloging) หรือ OPAC เป็นระบบงานที่ใช้ในการสืบค้นสารสนเทศ สามารถสืบค้นได้จากชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง ตรรกบูลีน คำสำคัญ เป็นต้น

Share/Save/Bookmark

ห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ (ตอนที่ 2)
Dec 26th, 2007 by supaporn 725 views

เมื่อจะนำระบบห้องสมุดอัตโนมัติเข้ามาใช้ จึงต้องมีการพิจารณาหน้าที่การทำงานต่าง ๆของระบบเพื่อให้รองรับการทำงานของห้องสมุดในระบบเดิม จึงมีการแบ่งออกเป็น Module ต่าง ๆ ตามหน้าที่การทำงานของห้องสมุด ออกเป็น Read the rest of this entry »

Share/Save/Bookmark

Koha โอเ่พ่นซอร์สซอฟต์แวร์ตัวแรกของ LIS
Dec 24th, 2007 by supaporn 680 views

โปรแกรม Koha เป็นซอฟร์แวร์รหัสเิิปิดหรือ โอเพ่นซอร์สซอฟต์แวร์ัตัวแรกที่เป็นโปรแกรมห้องสมุดแบบบูรณาการ (Library Integrated System) เริ่มเข้าไปศึกษาดูแล้ว ก็มี function หรือ module ในการทำงานเหมือน ๆ กับห้องสมุดอัตโนมัติเชิงพาณิชย์ เช่น โปรแกรมอินโนแพค วีทีแอลเอส ไดนิกซ์ ฯลฯ Read the rest of this entry »

ส่งงาน E-Journals

http://www.mediafire.com/?dtpk14jn5o84tu1

วันอังคารที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ส่ง E-book

http://as.doa.go.th/aeri/files/research/am487_hort_rotary_powetiller.pdf

http://as.doa.go.th/aeri/files/research/47_rotary_sugar.pdf

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 5 (เรื่องที่ 10)

Online public access catalog
From Wikipedia, the free encyclopedia
Jump to: navigation, search

This article needs additional citations for verification.Please help improve this article by adding reliable references. Unsourced material may be challenged and removed. (June 2010)
An Online Public Access Catalog (often abbreviated as OPAC or simply Library Catalog) is an online database of materials held by a library or group of libraries. Users search a library catalog principally to locate books and other material physically located at a library.
Contents[hide]
1 Early online catalogs
2 Stagnation and dissatisfaction
3 Next-generation catalogs
4 Union catalogs
5 Related systems
6 See also
7 References
//
[edit] Early online catalogs
Although a handful of experimental systems existed as early as the 1960s, the first large-scale online catalogs were developed at Ohio State University in 1975 and the Dallas Public Library in 1978.[1]
These and other early online catalog systems tended to closely reflect the card catalogs that they were intended to replace. Using a dedicated terminal or telnet client, users could search a handful of pre-coordinate indexes and browse the resulting display in much the same way they had previously navigated the card catalog.
Throughout the 1980s, the number and sophistication of online catalogs grew. The first commercial systems appeared, and would by the end of the decade largely replace systems built by libraries themselves. Library catalogs began providing improved search mechanisms, including Boolean and keyword searching, as well as ancillary functions, such as the ability to place holds on items that had been checked-out.
At the same time, libraries began to develop applications to automate the purchase, cataloging, and circulation of books and other library materials. These applications, collectively known as an integrated library system (ILS) or library management system, included an online catalog as the public interface to the system's inventory. Most library catalogs, then, are closely tied to their underlying ILS system.
[edit] Stagnation and dissatisfaction
The 1990s saw a relative stagnation in the development of online catalogs. Although the earlier character-based interfaces were replaced with ones for the web, both the design and the underlying search technology of most systems did not advance much beyond that developed in the late 1980s.[2]
At the same time, organizations outside of libraries began developing more sophisticated information retrieval systems. Web search engines like Google and popular e-commerce websites such as Amazon.com provided simpler to use (yet more powerful) systems based on probabilistic and vector-based queries.
For earlier generations of library users, the online catalog was often the first information retrieval system they ever encountered. Newer generations of library users now accustomed to web search engines, however, have grown increasingly dissatisfied with the complex (and often arcane) search mechanisms of older online catalog systems.
This has, in turn, led to vocal criticisms of these systems within the library community itself, and in recent years to the development of newer (often termed 'next-generation') catalogs.[3]
[edit] Next-generation catalogs
The newest generation of library catalog systems are distinguished from earlier OPACs by their use of more sophisticated search technologies, including relevancy ranking and faceted search, as well as features aimed at greater user interaction and participation with the system, including tagging and reviews.
These newer systems are almost always independent of the library's integrated library system, instead providing drivers that allow for the synchronization of data between the two systems. While older online catalog systems were almost exclusively built by ILS vendors, libraries are increasingly turning to next generation catalog systems built by enterprise search companies and open source projects led by libraries themselves. The costs associated with these new systems, however, have slowed their adoption, particularly at smaller institutions.
[edit] Union catalogs
Although library catalogs typically reflect the holdings of a single library, they can also contain the holdings of a group or consortium of libraries. These systems, known as union catalogs, are usually designed to aid the borrowing of books and other materials among the member institutions via interlibrary loan. The largest such union catalog is WorldCat, which includes the holdings of over 10,000 libraries worldwide.
[edit] Related systems
There are a number of systems that share much in common with library catalogs, but have traditionally been distinguished from them. Libraries utilize these systems to search for items not traditionally covered by a library catalog.
These include bibliographic databases -- such as Medline, ERIC, PsycINFO, and many others -- which index journal articles and other research data. There are also a number of applications aimed at managing documents, photographs, and other digitized or born-digital items. Particularly in academic libraries, these systems (often known as digital library systems or institutional repository systems) assist with efforts to preserve documents created by faculty and students.
[edit] See also
List of next-generation catalogs
Integrated library system
Library computer system
Jackson Creek Software
[edit] References
^ Borgman C (1996). "Why are Online Catalogs Still Hard to Use?". Journal of the American Society for Information Science 47 (7): 499.
^ Borgman C (1996), 493-503.
^ Antelman K, Lynema E, Pace AK (2006). "Toward a Twenty-First Century Library Catalog". Information Technology & Libraries 25 (3): 128–139.
Retrieved from "http://en.wikipedia.org/wiki/Online_public_access_catalog"